Welcome to the blog of Mr.Worramit Supap doctorate in early childhood education course on Science Experiences Management for Early Childhood .

วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน
วันที่  24  ตุลาคม  2557
ครั้งที่  11  เวลาเรียน  13: 10 - 16 : 40 น.


องค์ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
                  วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  แล้วให้บอกของว่าของเล่นอะไร  เป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร  ดังนี้

Naroemon  Sengseng  (โยนไข่)
Worramit supap (เครื่องบินกระดาษ)
Bunyaporn Ponlakorn (กระป๋องโยกเยก)
  Areeya lampho  (ป.ปลาตากลม)
  Arisara Phusit  (แก้วกระโดด)
  Tanaphon Jaikla  (นักดำน้ำ)
  Pornwimon papol  (กบกระโดด)

  Sirothon Laongek  (บูมมาแรง)

  Prapassorn Hnusiri  (ปืนยิงลูกบอลจากลูกโป่ง)
  wanna eamwisuttisan  (ธนูจากไม่ไอติม)
  kanyarat nongok  (กระป๋องผิวปาก)
  Aruni Panarin  (ตุ๊กตาโยกเยก)
  kanyarat tuithangsat  (เรือโจรสลัดลอยน้ำ)

 Wanwipa Pongam  (ไก่กระต๊าก)
  Jenjira  torsi  (แท่นยิง)
  Butsarakam  Saruno  (เขาวงกต)
  Suthidarat  Kerdboonmee  (กงจักรมหัศจรรย์)
  thipmanee  somsri  (หนูวิ่ง)
  Pichakorn kaewnoi  (รถพลังลูกโป่ง)
  Warunyupa Lerdsri  (ลูกขาง)
  Natchaya Chanrong  (รถของเล่น)
  Kattika Saban-nga  (ไหมพรมเต้นระบำ)
  Kamolmart Janpaisri  (บ๋องแป๋ง)
  nisakon buaklang  (โมบายสายรุ้ง)
  Sasipha  Krongsong  (ฟองสบู่แสนเพลิน)
  mathurin onpim  (ขวดน้ำหนังสติก)
  Arisa Yunuh  (จรวดจากหลอดกาแฟ)
  Passorn Sripawatakul  (รถหลอดด้าย)
  Duankamon Kantalee  (จักจั่น)
  Sunisa buddaroam  (กลองแขก)
  Sirawan Yannasot  (ประทัดกระดาษ)
  butsara nimanong  (รถล้อเดียว)
  inthuon sribunchai  (เป่ารถ)า
  Namphu Yodtsuk  (เรือใบไม่ล่ม)
  Chanoknan  Bankratok  (แก้วส่งเสียง)

             อาจารย์ได้พูดถึงการจัดประสบการณ์หน่วยการเรียนรู้ต่างๆ  ภายในกลุ่มเรียน  104  แล้วถามนักศึกษาว่าแต่ละหน่วยสามารถประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์ได้อย่างไรจากที่เพื่อนได้นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์  ต่อมาอาจารย์ได้แนะนำเรื่องการเขียนแผนจักประสบการณ์  ว่าต้องมีวัตถุประสงค์  เน้นด้านสติปัญญา  ต้องมีสาระการเรียนรู้  ต้องมีประสบการณ์สำคัญทั้ง  4  ด้าน  แตกเนื้อหาเป็น  Mind  map  ต้องมีการบูรณาการทักษะรายวิชา  เช่น  คณิตศาสตร์  เปรียบเทียบ  มากกว่าน้อยกว่า  ต้องมีกิจกรรมหลักทั้ง  6  กิจกรรม  และต้องมีพัฒนาการทั้ง  4  ด้านด้วย

การนำไปประยุกต์ใช้

              - สามารถนำนำความรู้ ที่ได้เรียนในวันนี้ไปใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัย
             - สามารถนำความรู้ไปเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
              - สามารถนำการเขียนแผนจัดประสบการณ์  มาใช้กับการเป็นครูปฐมวัยในอนาคตได้  เพื่อใช้ในการสอน  ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอน         

ผู้สอนได้ใช้เทคนิคในการสอน

         1.  ผู้สอนใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาตอบคำถามของอาจารย์เกี่ยวกับของเล่นวิทยาศาสตร์
         2.  ผู้สอน  สอนโดยมีเทคนิคการบรรยายโดยมีการใช้ภาษาอังกฤษสอดแทรกในสอนแต่ละครั้ง
         3.  เมื่อนักศึกษาคุยกันในเวลาอาจารย์บรรยาย  อาจารย์มีเทคนิคในการปราบนักศึกษาที่คุยกันโดยการหยุดบรรยาย  เพื่อให้นักศึกษาตั้งใจฟังอาจารย์
         4.  อาจารย์สอนโดยการบรรยายและการใช้สื่อมัลติมิเดีย  ประกอบการสอน  และเครื่องฉายภาพ

การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการนำเสนอ
         1.  อาจารย์ให้นักศึกษาใช้ไมโครโฟนทุกครั้งในการบรรยาย
         2.  อาจารย์ใช้มัติมิเดียในการสอน
         3.  อาจารย์ใช้เครื่องฉายภาพ  ในการให้ความรู้เพิ่มเติม     

การประเมินในชั้นเรียน


       ประเมินตัวเอง

             
              วันนี้มาเรียนตรงต่อเวลา  ตั้งใจเรียน  เรียนสนุก  แต่กายถูกระเบียบ  เรียบร้อย  และตั้งใจในการนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย  เมื่อเพื่อนออกมานำเสนอผมทำการจดบันทึกการนำเสนอของเพื่อนทุกคน  เวลาผมออกไปนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ผมตื่นเต้นมาก

       ประเมินเพื่อน


               วันนี้เพื่อนเตรียมตัวมาดีในการนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์หน้าชั้นเรียนเป็นอย่างดี  เพื่อเตรียมตัวในการตอบคำถามของอาจารย์เป็นอย่างดี


       ประเมินอาจารย์

             
             อาจารย์สอนดีมาก  และแต่กายสุภาพเรียบร้อย  อาจารย์ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์  และถามคำถามในการนำเสนอของเพื่อนทุกคน  และอาจารย์ให้ข้อเสนอแนะของเล่นวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาทุกคน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น